ยินดีต้อนรับเข้าสู่บล็อกของ นายวีระ เรืองรัตน์สุนทร

วันเสาร์ที่ 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558

บทที่ 1สังคม

โครงสร้างของสังคม
 ความหมายของโครงสร้างของสังคม (Social Structure)
              พจนานุกรมศัพท์สังคมวิทยาภาษาอังกฤษ – ไทยฉบับราชบัณฑิตยสถาน กล่าวว่า โครงสร้างสังคม หมายถึง องค์ประกอบที่มีส่วนต่างๆ สัมพันธ์กันอย่างมีระเบียบ และดำรงอยู่ได้ถาวรตามสมควร โครงสร้างของสังคม คือ ระบบความสัมพันธ์ของสถาบันต่างๆ ของสังคมในขณะใดขณะหนึ่ง
-มาร์วิน.อี.ออลเซน(Marvin E. Olsen) ได้อธิบายความหมายโครงสร้างของสั อ่านเพิ่มเติม
................................................................................................................
การจัดระเบียบทางสังคม
               การจัดระเบียบทางสังคม  หมายถึง  วิธีการที่คนในสังคมกำหนดขึ้นมาเพื่อให้คนที่มาอยู่รวมกันประพฤติปฎิบัติตาม  รวมทั้งทำให้สังคมมีความมั่นคงและสามารถดำรงชีวิตอยู่ได้อย่างเป็นระเบียบเรียบร้อย  หรืออาจก อ่านเพิ่มเติม

บทที่ 2 การเปลี่ยนแปลงและการพัฒนาทางสังคม

การเปลี่ยนแปลงทางสังคม
           สังคมมนุษย์มีลักษณะเช่นเดียวกับปรากฏการณ์ธรรมชาติต่าง ๆ คือ มีการเปลี่ยนแปลง บางสังคมเปลี่ยนแปลงช้าขณะที่บางสังคมเปลี่ยนเร็ว ในอดีตสังคมส่วนใหญ่เปลี่ยนแปลงอย่างช้า ๆอ่านเพิ่มเติม
ปัญหาสังคมไทย
............................................................................................
            ปัญหาสังคม หมายถึง สภาวะการณ์ที่มีผลกระทบกระเทือนต่อคนจำนวนมากในสังคมและเห็นว่าควรร่วม กันแก้ปัญหานั้นให้ดีขึ้นอ่านเพิ่มเติม   

บทที่ 3 วัฒนธรรม

วัฒนธรรมไทย
 การที่มนุษย์มาอยู่รวมกันเป็นกลุ่มเป็นสังคมขึ้นมาย่อมต้องมีความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกของกลุ่มมีระเบียบแบบแผนที่ควบคุมพฤติกรรมของบุคคลในกลุ่มให้อยู่ในขอบเข อ่านเพิ่มเติม
ความแตกต่างทางสังคมและวัฒนธรรม
............................................................................................ 
 ประเทศต่างๆในโลกมีความแตกต่างกันทางวัฒนธรรมความเชื่อและค่านิยม
เนื่องจากแต่ละประเทศ มีลักษณะทางวัฒนธรรม สภาพแวดล้อมทางกายภาพ และการพัฒนาเศรษฐกิจ วิทยาการและเทคโนโลยีที่แตกต่างกัน จึงเป็นเหตุให้เกิดความขัดแย้งกันอันนำไปสู่ชนวนการทำสงครามได้  การแก้ไขและป้องก้นความขั  อ่านเพิ่มเติม

บทที่ 4 พลเมืองดี

พลเมืองดีของสังคม
            การปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดีตามหลักธรรม ประกอบด้วย จริยธรรม คุณธรรม จริยธรรม

จริยธรรม หมายถึง หลักในการประพฤติปฏิบัติที่ไม่ทำให้ผู้อื่นเดือดร้อนเสียหาย  หลักการของกิริยาที่ควรประพฤติทำให้สังคมอยู่ร่วมกันโดยสงบ อ่านเพิ่มเติม
...................................................................................................
 การปฏิบัติตัวเป็นคนดี
          บุคคลจะเป็นพลเมืองดีของสังคมนั้น ต้องตระหนักถึงบทบาทหน้าที่  ที่จะต้องปฏิบัติ และมุ่งมั่นเพื่อให้บรรลุเป้าหมาย ด้วยความรับผิดชอบอย่างเต็มที่ สอดคล้องกับหลักธรรมวัฒนธรรม อ่านเพิ่มเติม

บทที่ 5 การปกครองระบอบประชาธิปไตย

รัฐ
       คือ กลไกทางการเมืองโดยมีอำนาจอธิปไตยปกครองดินแดนทางภูมิศาสตร์ที่มีอาณาเขตและมีประชากรแน่นอน โดยอำนาจดังกล่าวเบ็ดเสร็จทั้งภายในและภายนอกรัฐ ไม่ขึ้นกับรัฐอื่นหรืออำนาจอื่นจากภายนอก และอาจกล่าวได้ว่า รัฐสามารถคงอยู่ได้แม้จะไม่ได้รับการรับรองจากรัฐอื่น เพียงแต่รัฐที่ไม่ได้  อ่านเพิ่มเติม
...................................................................................................
 ฐานะและพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์ไทย
      ตามการปกครองระบอบประชาธิปประไตย  อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขนั้น  เป็นการปกครองรูปแบบที่พระองค์จะทรงใช้พระราชอำนาจในฐานะประมุขของรัฐและในฐานอื่นๆซึ่งเป็นไปตามที่รับธรรมนูญกำหนดไว้ ดังนี้ อ่านเพิ่มเติม

บทที่ 6 กฎหมาย


กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับตนเองและครอบครัวกฎหมาย
           กฎหมาย  คือ  กฎที่สถาบันหรือผู้มีอำนาจสูงสุดในรัฐตราขึ้น  หรือที่เกิดขึ้นจากจารีตประเพณีอันเป็นที่ยอมรับนับถือ  เพื่อใช้ในการบริหารประเทศ  เพื่อใช้บังคับบุคคอ่านเพิ่มเติม
...........................................................................................................
ข้อตกลงระหว่างประเทศ
           คำนิยามข้อตกลงระหว่างประเทศ คือ  บ่อเกิดของกฎหมายระหว่างประเทศที่เกิดจากข้อตกลง  ก็คือบ่อเกิดที่เกิดจาก ข้อตกลงระหว่างประเทศ  ซึ่งหมายถึง การกระทำทางกฎหมายหลายฝ่ายที่ตกลงทำกันขึ้นระหว่างบุคคลในกฎหมายระหว่างประเทศและอยู่ภายใต้กฏหม  อ่านเพิ่มเติม

บทที่ 7 สิทธิมนุษยชน

สิทธิมนุษยชน (Human Right)
                  สิทธิมนุษยชน หมายถึง สิทธิที่มนุษย์ทุกคนมีความเท่าเทียมกัน มีศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ สิทธิ เสรีภาพ และความเสมอภาคของบุคคลที่ได้รับการรับรอง ทั้งความคิดและการกระทำที่ไม่มีการล่วงละเมิดได้ โดยได้รับการ อ่านเพิ่มเติม
...........................................................................................................
สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย
                   รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยฉบับปัจจุบัน (พ.ศ.2550) ซึ่งร่างขึ้นโดย องค์กรซึ่งได้รับแต่งตั้งจากคณะผู้ยึดอำนาจการปกครองขณะนั้น ระบุไว้ในมาตรา 4 ว่า "ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ สิทธิ เสรีภาพ และความเสมอภาคของบุคคลย่อมได้รับความคุ้มครอง" มาตรา26 ถึง 69 ได้บรรยายขอบเขตของสิทธิเฉพาะในบางด้าน เช่น ความยุติธรรมทางอาญา การศึกษา การไม่เลือกปฏิบัติ ศาสนา และอ่านเพิ่มเติม